สถานที่สำคัญของ สถานที่สำคัญ

กาดหัวบ้าน

กาดหัวบ้าน หรือกาดแลง อยู่ริมน้ำแม่ต๋ำ ชาวบ้านจะนำพืชผัก อาหาร มาขายทุกเย็น เป็นตลาดของชุมชน เริ่มขายสินค้าช่วงเวลาประมาณ 15.00-18.00 น. นอกจากจะมีการนำสินค้ามาจำหน่ายแล้ว ยังเป็นพื้นที่ในการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุของชุมชนในการพบปะพูดคุยกัน...

งานฝีมือชุมชน

กลุ่มอาชีพ “เย็บปักถักร้อย” ตั้งอยู่ในบริเวณวัด...

บ่อน้ำหมู่บ้าน

แหล่งน้ำสำคัญในอดีต น้ำใช้จะตักจากบ่อน้ำที่หน้าวัด...

ประตูปราสาท

ประตูเมืองแห่งหนึ่งของเมืองพะเยาในอดีต ในตำนานเมืองพะเยากล่าวว่าพญาจอมธัมม์ให้ฝังยันตร์รูปปราสาทที่นี่ จึงได้ชื่อว่าประตูปราสาท แล้วต่อมากร่อนเสียงเป็นประสาท ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของถนนบริเวณระหว่างมุมสนามฟุตบอลหลังสำนักงานเทศบาลเมืองพะเยากับสวนสุขภา...

ประตูปู่ยี่

สถานที่ตั้งประตูเมืองแห่งหนึ่งของเมืองพะเยาเมื่อครั้งอดีตด้านทิศใต้...

พิพิธภัณฑ์เวียงพยาว

พิพิธภัณฑ์บอกเล่าเรื่องราวของหินทรายและประวัติศาสตร์พะเยา มีพระพุทธรูปหินทรายสกุลช่างพะเยา...

ร่มโพธิ์ทอง

บ้านร่มโพธิ์ทอง มีต้นโพธิ์ เชื่อกันว่าอายุประมาณ 200 ปี ซึ่งเป็นต้นกำเนิดชื่อชุมชน “ร่มโพธิ์ทอง” - วันที่ 15 เมษายน ของทุกปี จะมีการบวชต้นโพธิ์ และมีการแห่ไม้ศักดิ์สิทธิ์ ทำพิธีโดยพ่อหนาน และมีการรำวงถวายศาลเจ้าพ่อข้อมือเหล็ก - วันที่ 16 เมษายน ของทุ...

เรือนเก่า

เรือนรุ่นประมาณ พ.ศ.2500-2520...

เรือนเก่า

เรือนเก่า อายุประมาณ 50 ปี ของ ผอ.สุเทพ วรมิตร และเรือนเก่าใกล้เคียงของญาติ...

เรือนคหบดี

เรือนคหบดี ยุคที่มีการค้าข้าวเจริญรุ่งเรือง มีการสร้างถนนพหลโยธิน...

เรือนโบราณ

เรือนโบราณ มีอายุประมาณ 80 ปี ปู่ของเจ้าของบ้านโบราณเป็นชาวโปรตุเกส...

เรือนโบราณ

เรือนโบราณของคุณลุงปฐมพงศ์ อนันธพงศ์ อายุ 72 ปี หลวงไกรชิงฤทธิ์ผู้เป็นปู่ของลุงปฐมพงศ์ เป็นเพื่อนกับจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเรือนเก็บศิลปวัตถุโบราณหลายอย่าง...

เรือนโบราณ

เรือนโบราณของนายเตี๊ยะ เสมียนโรงเหล้าของคุณหลวงศรีนครานุกูล นายเตี๊ยะเสียชีวิตเมื่อปี 2498...

เรือนโบราณ

เรือนหลวงศรีนครานุกูล มีอยู่ 2 แห่ง เป็นเรือนของคหบดีของเมืองพะเยา ตัวเรือนเป็นไม้สักทองบุ 2 ชั้น ฐานเสาซีเมนต์ ทำเสาบัว กลอนประตูทำด้วยทองเหลือง ใส่กระจกสีบนบานหน้าต่าง ไม้ที่ใช้ทำทุกชิ้นต้องแช่น้ำตากให้แห้งใช้เวลาประมาณ 1 เดือน...

เรือนโบราณของอดีตหมอยาไทใหญ่

มีตำรารักยาและการรักษาแบบพม่า-ไทยใหญ่ ของสล่าเมธา...

เรือนพักอาศัย

เรือนไม้โบราณของสล่าเบิ่ง นามสกุล “เสมอเชื้อ”...

เรือนพักอาศัย

เรือนไม้...

เรือนพักอาศัย

เรือนไม้ของทนายพิชัย พงษ์ไพโรจน์ (ตาส่วย) อายุ 94 ปี อดีตนายกเทศมนตรีเมืองพะเยาซื้อเรือนหลังนี้เมื่อครั้งย้ายมาเป็นทนายประจำศาลจังหวัดพะเยา เดิมเป็นเรือนของขุนมาลารักษ์ระบินทร์ ซึ่งเป็นทนายของหลวงศรีนครานุกูล ซึ่งหลวงศรีฯ สร้างให้อยู่อาศัย จนกระทั่งห...

เรือนพักอาศัย

เรือนไม้ยกใต้ถุนสูง ...

เรือนพักอาศัย

เรือนโบราณ ของครูบุปผา นุชนารถ เรือนมีอายุ 101 ปี ของคนในสกุล “สองคำชุม” และ “ธุระ”...

เรือนร้านค้า

ตั้งอยู่ในย่านการค้า ถนนพหลโยธินสายเก่า เข้าสู่ตัวเมืองพะเยา...

เรือนร้านค้า

ตั้งอยู่ในย่านการค้า ถนนพหลโยธินสายเก่า เข้าสู่ตัวเมืองพะเยา...

เรือนร้านค้า

ตั้งอยู่ในย่านการค้า ถนนพหลโยธินสายเก่า เข้าสู่ตัวเมืองพะเยา...

เรือนร้านค้า

ตั้งอยู่ในย่านการค้า ถนนพหลโยธินสายเก่า เข้าสู่ตัวเมืองพะเยา...

เรือนร้านค้า

ตั้งอยู่ในย่านการค้า ถนนพหลโยธินสายเก่า เข้าสู่ตัวเมืองพะเยา...

เรือนร้านค้า

ตั้งอยู่ในย่านการค้า ถนนพหลโยธินสายเก่า เข้าสู่ตัวเมืองพะเยา...

เรือนร้านค้า

เรือนไม้เก่าย่านการค้าในอดีต...

เรือนร้านค้า

เรือนไม้...

เรือนร้านค้า

ขายไส้อั่วและของฝาก...

โรงสี และ เรือนพักอาศัย

ตั้งอยู่ในย่านการค้า ถนนพหลโยธินสายเก่า เข้าสู่ตัวเมืองพะเยา...

วงดนตรีปี่พาทย์พื้นเมือง

วงดนตรีปี่พาทย์พื้นเมืองวงหนองเอี้ยง คุณจำนง เครือคำ อายุ 49 ปี เจ้าของวงหนองเอี้ยง (ปี่พาทย์พื้นเมือง) ซึ่งเป็นวงของครอบครัว (สืบทอดต่อมาจากบิดา คือ สล่าธรรม)...

วงดนตรีปี่พาทย์พื้นเมือง

วงดนตรีปี่พาทย์พื้นเมืองวงวัดพระเจ้าตนหลวง อุปถัมภ์โดยพระครูศรีวรพินิจ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดศรีโคมคำ และวงผายาวเมืองอิง อุปถัมภ์โดยผู้มีใจรักในดนตรีพื้นเมือง มีนายนิคม ขันทะกิจ (สล่าเผ) เป็นหัวหน้าวงทั้ง 2 วง...

วัดไชยอาวาส

(1) เดิมเรียกวัดประตูเหล็ก วิหารปัจจุบัน สร้างปี พ.ศ. 2494 เคยมีวงดนตรีประจำของวัด ชื่อวงดนตรีลูกงำเมือง พักวงได้ 20 กว่าปี ในอดีตเคยไปเล่นหาเงินเพื่อมาสร้างกำแพงวัด(2) พระธาตุ ศิลปะล้านนา มีประเพณีสรงน้ำพระธาตุเดือน 8 เหนือ แรม 8 ค่ำ...

วัดติโลกอาราม

เดิมเป็นเนินโบราณสถานเรียกว่า สันธาตุ อยู่กลางน้ำ ปัจจุบันเป็นกว๊านพะเยา มีต้นฉำฉา (จามจุรี) ขึ้น เมื่อต้นฉำฉา (จามจุรี) ล้ม จึงทำการย้ายพระพุทธรูปศิลาจากเกาะที่อยู่กลางน้ำกว๊าน มาประดิษฐานที่วัดศรีอุโมงค์คำ ซึ่งปัจจุบันได้นำกลับไปประดิษฐานที่บนเกาะก...

วัดน้อย

วิหารน้อยที่สร้างขึ้นใหม่บนฐานโบราณสถานเก่า หลักฐานร่องรอยโบราณสถานที่เหลืออยู่ริมคูเมืองพยาว (เวียงน้ำเต้า)...

วัดบุญยืน

วัดบุญยืน (เดิมเป็นวัดสร้อยคำ) เป็นวัดที่อดีตมีพระสงฆ์เป็นที่เคารพศรัทธายิ่งของชาวเมืองพะเยา คือ ครูบาอินโต...

วัดป่าลานคำ

พื้นที่ด้านหลังวัดมีลานปฏิบัติธรรม ลานธรรมรุ่งอรุณ มีห้องอบสมุนไพร โดยภูมิปัญญาด้านสมุนไพร ซึ่งพระครูวรเวท โกวิทย์ เจ้าอาวาสวัดป่าลานคำ เป็นผู้ปรุงยา - มีสูตรยาเหลืองและยาแดงที่มาจากพระไตรปิฎกและสูตรที่สืบทอดมาจากบิดา - เคยมีเตาอบยาสมุนไพร แต...

วัดภูมินทร์

กุฏิไม้หลังใหญ่ อายุกว่า 90 ปี มีหอเสื้อวัด ที่หน้าวัดมีพิพิธภัณฑ์ชาวนาแสดงอุปกรณ์เครื่องมือในการทำนา...

วัดมหาพน

วัดเก่าแก่ริมคูเมืองพะเยาด้านทิศตะวันออก ยังคงมีโบราณสถานฐานวิหาร ปรากฏในตำนานกล่าวถึงการรื้อเอากระเบื้องมุงหลังคาวิหารวัดมหาพนมาหล่อ ลำบู (ปืนใหญ่) ใช้ยิงหอเรือก (ป้อมรบ) ของพญาไสยลือไท ที่ยกทัพมาหนายจะยึดเมืองพยาว จนต้องถอยทัพไป...

วัดเมืองชุม

(1) อุโบสถวัดเมืองชุม สร้างเมื่อครั้งพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ ดำรงสมณศักดิ์ที่พระครูพินิตธรรมประภาสเป็นเจ้าอาวาสวัด(2) สถูปเจดีย์โบราณ เป็นถาวรวัตถุที่เก่าแก่ที่สุดของวัด ศิลปะแบบล้านนาประมาณสมัยราชวงศ์มังราย(3) มีชิ้นส่วนประติมากรรมหินทรายแกะสลัก สมัยพ...

วัดราชคฤห์

วัดราชคฤห์ หรือเรียกว่า วัดใหม่ ในอดีตมีพระครูศรีวิราชวชิรปัญญา เจ้าคณะแขวงเมืองพะเยา เป็นเจ้าอาวาส ประธานฝ่ายสงฆ์ผู้นิมนต์ครูบาศรีวิชัยมาบูรณะพระวิหารพระเจ้าตนหลวง วัดศรีโคมคำ และต่อมามีพระราชวิริยะสุนทร อดีตเจ้าคณะจังหวัดพะเยา เป็นเจ้าอาวาส...

วัดลี

วัดโบราณมีประวัติการสร้างมาตั้งแต่ครั้งเจ้าสี่หมื่นเมืองพยาว ยุคล้านนาราชวงศ์มังราย และได้รับการฟื้นฟูในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ มีเจดีย์ขนาดใหญ่ที่ได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์หลายครั้ง และเป็นที่เก็บรวบรวมโบราณวัตถุต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่เป็นประติมากรรมหินทรายแกะ...

วัดศรีโคมคำ

พระอารามหลวงแห่งเดียวของจังหวัดพะเยา เป็นวัดโบราณสำคัญมาตั้งแต่สมัยล้านนาราชวงศ์มังราย เป็นที่ประดิษฐานขององค์พระเจ้าตนหลวง พระพุทธรูปขนาดใหญ่และมีอายุเก่าแก่ที่สุดของดินแดนล้านนา (ภาคเหนือของไทย) อายุกว่า 500 ปี เป็นที่เคารพบูชาของพุทธศานิกชนทั่วไป ...

วัดศรีจอมเรือง

(1) ครูบาจิ่นตะนะ อดีตเจ้าอาวาส พระครูสุจินต์ธรรมสาร (ครูบาจินะ) เจ้าอาวาสวัดรูปปัจจุบัน ซึ่งเป็นผู้ที่เคารพนับถือของคณะศรัทธาทั้งในชุมชนและชุมชนอื่น ๆ (2) อุโบสถผสมผสานทั้งศิลปะพม่าแบบมัณฑเลย์และตะวันตกแบบโคโลเนียล (3) วิหารเอนกประสงค์แบบไทใหญ่ (4) ...

วัดศรีอุโมงค์คำ

(1) วัดศรีอุโมงค์คำเป็นวัดโบราณเก่าแก่มาแต่เดิมตั้งอยู่ในเวียงโบราณของเมืองพะเยา ได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน(2) ระฆังของวัดศรีอุโมงค์คำหล่อด้วยดุมล้อ (เกวียน) ของสามีคุณยายฟอง ธุระ...

วัดหลวงราชสัญฐาน

(1) วิหารศิลปะล้านนาซึ่งสร้างขึ้นใหม่คล้ายรูปแบบเดิม (บูรณะมาแล้ว 2 ครั้ง) ซึ่งหลังเดิมถูกพายุพัดพังทลายเนื่องจากโครงสร้างชำรุดทรุดโทรมตามกาลเวลา พระประธานองค์เดิมในวิหารเป็นปูนปั้นก็พังเสียหายไปพร้อมกับวิหารหลังเดิมที่ล้มพังทลายลง เนื่องจากสร้างโดยเ...

วัดหัวข่วงแก้ว

อดีตเป็นวัดสำคัญในตัวเวียงพะเยาโบราณ ได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์ในยุครัตนโกสินทร์...

วัดอินทร์ฐาน

วิหารไม้สักแกะสลัก และมีกลุ่มของช่างทอผ้าอยู่อาหารบริเวณหน้าวัด...

เวียงแก้ว

เวียงแก้ว ลานกิจกรรมกลางใจเมืองในอดีต และเป็นที่ตั้งศาลหลักเมืองพะเยาในปัจจุบัน...

ศาลอารักษ์หนองระบู

ศาลที่สถิตย์ของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชุมชนให้ความเคคารพนับถือ...

ศาลอารักษ์หมู่บ้าน

จุดศูนย์รวมความเชื่อและศรัทธาของคนในชุมชน เลี้ยงผีเจ้าบ้าน มีหอผีเจ้าบ้าน จัดเลี้ยงเซ่นไหว้ทุกปี...

ศาลอารักษ์หมู่บ้าน

มีประเพณีเลี้ยงบัตรพลีเป็นประจำทุกปี...

ศาลอารักษ์หมู่บ้าน

มีประเพณีเลี้ยงบัตรพลีเป็นประจำทุกปี...

ศาลอารักษ์หมู่บ้าน

ตั้งอยู่ที่วัดร้างเก่า (สันกู่) ริมกว๊าน เรียกว่า เสี้ยวบ้าน (เสื้อบ้าน) หรือเจ้าพ่อบ้าน มีประเพณีเลี้ยงเซ่นไหว้เป็นประจำทุกปี ในเดือน 9 (มิ.ย.) แรม 3 ค่ำ...

ศาลอารักษ์หมู่บ้าน

มีการนับถือผีเสื้อบ้าน มีหอผีเสื้อบ้านอยู่ในดงบ้าน มีประเพณีเลี้ยงเป็นประจำทุกปี เชื่อกันสิบมาว่ามีมานานกว่า 500 ปี...

ศาลอารักษ์หมู่บ้านเจ้าพ่อข้อมือเหล็ก

นับถือผีเสื้อบ้าน ที่ต้นโพธิ์ใหญ่มีศาลเสื้อบ้านเจ้าพ่อข้อมือเหล็ก มีประเพณีเลี้ยงถวายเครื่องเซ่นและการแสดงรื่นเริง จุดศูนย์รวมความเชื่อและศรัทธาของคนในชุมชน จะมีงานสักการะในวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี โดยสมัยก่อนจะมีการรำถวายสักการะจากคนในหมู่บ้าน แต่ป...

ศูนย์ศิลปะชุมชน

นายสมภพ ขันะกิจ (สล่าแดง) หนึ่งในกลุ่มช่างประจำศูนย์ศิลปะชุมชน และมีช่างหรือครูผู้มีความรู้ด้านงานศิลปกรรมแขนงต่าง ๆ เวียนมาถ่ายทอดความรู้แก่ผู้สนใจอยู่เป็นประจำ...

สถานที่ตั้งเดิม หอพญางำเมือง

จุดต้นมะขาม คนในชุมชนจะมาไหว้ บนบาน ในอดีตมีศาลไม้ตั้งอยู่ ภายในบริเวณวัดมีหอเจ้าเมือง (ศาลเจ้าเมือง) อยู่ที่ต้นมะขามทางทิศใต้ มีประเพณีเลี้ยง (ถวายเครื่องเซ่น) เจ้าเมืองในวันแรม 9 ค่ำ เดือน 9 โดยไม่ยกเว้นวันพุธหรือวันพระ อาหารที่ใช้เลี้ยง (เซ่น) มีข...

สวนสาธารณะ

สวนสมเด็จย่า 90...

อดีตกาดงัว

ตลาดค้าขายวัว มีมาจนถึงประมาณ พ.ศ.2540 โดยจะติดตลาดในวันจันทร์วันเดียว แล้วปัจจุบันย้ายไปที่ตำบลท่าวังทอง เนื่องจากเคยมีกาดงัว (ตลาดนัดขายวัว-ควาย) จึงเคยมีอาชีพทำอาหารขายแก่ผู้มากาดงัว...

อนุสาวรีพญางำเมือง

ที่ตั้งของอนุสาวรีย์พญางำเมือง กษัตริย์แห่งนครรัฐพยาว ทรงขยายอาณาเขตของพยาวไปจนถึงเมืองพลัว และเป็นไมตรีกับพญามังรายแห่งเมืองเชียงรายผู้เป็นพระประยูรญาติกันและพญาร่วงแห่งสุโขทัย (พ่อขุนรามคำแหง) ผู้เป็นพระสหายร่วมสำนักเรียนที่เมืองละโว้ ทรงร่วมกันชี้...

กลับสู่ด้านบน